ข้ามไปเนื้อหา

เล็ก แนวมาลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เล็ก แนวมาลี
รองนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
นายกรัฐมนตรีเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 – 11 สิงหาคม พ.ศ. 2520
นายกรัฐมนตรีเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ก่อนหน้าสงัด ชลออยู่
ถัดไปเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ดำรงตำแหน่ง
11 สิงหาคม พ.ศ. 2521 – 21 ธันวาคม พ.ศ. 2521
นายกรัฐมนตรีเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ก่อนหน้าเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ดำรงตำแหน่ง
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523
นายกรัฐมนตรีเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ถัดไปประเทือง กีรติบุตร
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
22 ตุลาคม พ.ศ. 2519 – 19 ตุลาคม พ.ศ. 2520
นายกรัฐมนตรีธานินทร์ กรัยวิเชียร
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด29 สิงหาคม พ.ศ. 2457
เสียชีวิต18 ธันวาคม พ.ศ. 2536 (79 ปี)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสถวิล แนวมาลี
บุตรพลอากาศเอก อมร แนวมาลี
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดกองทัพบกไทย
กองอาสารักษาดินแดน
ยศ พลเอก
นายกองใหญ่[1]

พลเอก เล็ก แนวมาลี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาไทย

ประวัติ

[แก้]

พล.อ. เล็ก แนวมาลี สมรสกับนางถวิล แนวมาลี มีบุตรคือพลอากาศเอก อมร แนวมาลี[2]

งานการเมือง

[แก้]

พล.อ. เล็ก แนวมาลี ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีครั้งแรกในรัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียรเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39[3][4] และพ้นจากตำแหน่งไปหลังการรัฐประหารของพล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ ต่อมาเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40 รัฐบาลของพล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์[5] เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2521 ได้มีการปรับย้ายไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย[6][7] และดำรงตำแหน่งเรื่อยมาในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41[8] และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองนายกรัฐมนตรี[9] เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 หลังการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเพียงวันเดียว[10] และพ้นจากตำแหน่งไปเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 หลังจากที่พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ลาออก[11]

พล.อ. เล็ก แนวมาลี เคยร่วมก่อตั้งพรรคการเมืองกับ พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในปี พ.ศ. 2525 และได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาพรรคชาติประชาธิปไตย[12]

ยศ

[แก้]
  • 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 - ร้อยตรี[13]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

พลเอก เล็ก แนวมาลี ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ดังนี้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่
  2. ประวัติผู้สมัคร ส.ส.[ลิงก์เสีย]
  3. "คณะรัฐมนตรีคณะที่ 39 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-04. สืบค้นเมื่อ 2015-01-06.
  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๑๗ ราย)
  5. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๓ ราย)
  6. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (พลเอก เล็ก แนวมาลี พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ พลเรือเอก ถวิล รายนานนท์ พลเอก ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา พลเรือเอก อมร ศิริกายะ)
  7. "คณะรัฐมนตรีคณะที่ 40 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-04. สืบค้นเมื่อ 2015-01-06.
  8. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-09-23. สืบค้นเมื่อ 2019-10-29.
  9. พระบรมราชโองการ ประกาศ รัฐมนตรีลาออก ให้รัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง และแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)
  10. การเมืองตำนานการเมือง พล.อ.เกรียงศักดิ์ เป็นนายกฯ คนนอกได้เพราะเสียง ส.ว.[ลิงก์เสีย]
  11. "คณะรัฐมนตรีคณะที่ 41 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-04. สืบค้นเมื่อ 2015-01-06.
  12. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจดทะเบียนพรรคการเมือง เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนเล่ม 99 ตอนที่ 154 วันที่ 20 ตุลาคม 2525
  13. ประกาศ พระราชทานยศทหาร (หน้า ๒๕๙๕)
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๑๕๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๑, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๔
  15. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๔ ตอนที่ ๑๒๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๙, ๓๐ ธันวาคม ๒๕๑๐
  16. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๔๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๘, ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๔
  17. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๘๙๑, ๙ ธันวาคม ๒๔๘๔
  18. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๒๑๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๓, ๑๖ ธันวาคม ๒๕๑๗
  19. ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนาม ผู้ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๑๘๒, ๗ ตุลาคม ๒๔๗๗
  20. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๒ ตอนที่ ๑๐๓ ง หน้า ๓๐๑๔, ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๐๘
  21. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๕ ตอนที่ ๗๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘๐๒, ๒๕ ธันวาคม ๒๔๙๑
  22. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๙๕ ง หน้า ๒๒๐๘, ๒๔ กันยายน ๒๕๐๖
  23. AGO 1968-07 — HQDA GENERAL ORDER: MULTIPLE TITLES BY PARAGRAPHS
  24. SENARAI PENUH PENERIMA DARJAH KEBESARAN, BINTANG DAN PINGAT PERSEKUTUAN TAHUN 1972.